รหัสอบรม:

การอบรมเรื่อง
เทคนิคการผูกรัดวัสดุสำหรับรถขนส่ง รุ่นที่ 7
(Lashing Technique for Transportation)
วันที่ 8 ธันวาคม พ.ศ.2566
เวลา 09.00-16.00 น. ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.

สมัครอบรมคลิก https://forms.gle/pLb5cQPoTNsNa9aP6

หลักการและเหตุผล:
การผูกรัดวัสดุบนรถขนส่งต่าง ๆ เช่น รถบรรทุก รถลาก นั้น เป็นสิ่งสำคัญที่จะป้องกันเหตุอันตรายที่จะเกิดกับชีวิตและทรัพย์สินของบุคคลบนท้องถนน. หากการผูกรัดไม่ถูกต้องหรือไม่เพียงพอแล้ว อาจจะเกิดเหตุความเสียหายกับชีวิตและทรัพย์สินของบุคคลบนท้องถนนได้ รวมไปถึงวัสดุ/สินค้าที่บรรทุกอาจได้รับความเสียหาย นั่นหมายถึงการสูญเสียทั้งเวลา และทรัพย์สิน.
ประเทศไทยยังไม่มีมาตรฐานหรือแนวทางปฏิบัติรวมถึงการบังคับใช้กฎหมาย ในเรื่องการผูกรัดวัสดุบนรถขนส่ง หลักสูตรนี้จะเป็นแนวทางในการปฏิบัติในการผูกรัดวัสดุบนรถขนส่งอย่างปลอดภัย

วัตถุประสงค์ของการฝึกอบรม:
 เป็นแนวทางในการผูกรัดวัสดุบนรถขนส่งอย่างปลอดภัย ตามหลักสากล
 เป็นแนวทางในการเลือกใช้อุปกรณ์ผูกรัดสินค้าให้ถูกต้องและเหมาะสม ตามหลักสากล
 เป็นแนวทางในทางขับเคลื่อนและผลักดัน การผูกรัดวัสดุบนรถขนส่ง ให้เป็นที่แพร่หลายในวงกว้างมากยิ่งขึ้น

กำหนดการ

กำหนดการ เนื้อหาการอบรม หมายเหตุ
8 ธันวาคม 2566
08:30 – 09:00 น. ลงทะเบียน
09:00 – 12:00 น.
    ตัวอย่างความเสียหายที่เกิดขึ้นและตัวอย่างการรัดสินค้าผิดวิธี
    ตำแหน่งการวางสินค้าบนรถบรรทุกอย่างถูกต้องปลอดภัย
    การยกและการวางสินค้าบนรถบรรทุก
    เทคนิคการรัดสินค้าแบบ (Tie-Down)  แรงเสียดทาน  มุมรัด การยืดตัว  จำนวนการรัด
    เทคนิคการยึดสินค้าแบบ (Direct)  มุมรัด ตำแหน่งการรัด  จำนวนการรัด
    อุปกรณ์มาตรฐานที่ใช้ในการผูกรัด (Load Restraint Equipment)
12:00 – 13:00 น. พักรับประทานอาหารกลางวัน
13:00 – 16:00 น.
     การตรวจสอบการรัดสินค้าก่อนเดินทางและระหว่างเดินทาง
    ป้ายบ่งชี้ต่าง ๆ (International Cargo Symbols and Signs)
    การรัดสินค้าแบบเหลี่ยม เช่น Packs and Pallets
    การรัดสินค้าแบบทรงกลม เช่น Rolls, Reels, Coils, Drums
    การรัดสินค้าแบบทรงยาว เช่น Pipes, Tubes, Logs, Rods, Bars and Billets
    การรัดสินค้าขนาดใหญ่ เช่น รถขุดตีนตะขาบ  รถเครนล้อยาง
    การคำนวณเบื้องต้นเกี่ยวกับการผูกรัด เช่น
สัมประสิทธิ์แรงเสียดทาน  องศาที่ผูกรัดมีผลต่อแรงดึง  สัดส่วนความกว้างและความสูงของสินค้า   จำนวนเส้นที่ต้องผูกรัด
16.00 น. ทำแบบทดสอบหลังอบรม
หมายเหตุ : พักรับประทานอาหารว่าง เวลา 10.30-10.45 น. และ เวลา 14.30-14.45 น.

คณะวิทยากร

อ.ประวิทย์ โตรฐาน
ผู้จัดการฝ่ายตรวจสอบและบริการ

บริษัท โปรพอยท์  โกลบอล คอนซัลแทนต์ จำกัด

ประธาน คณะอนุกรรมการวิศวกรรมยกหิ้วและปั้นจั่น

วันที่จัด

08/12/2023

สถานที่จัด

ณ ห้องประชุม อาคาร วสท.

คุณสมบัติผู้สมัคร

- ผู้จัดการฝ่ายจัดส่งสินค้าหรือผู้จัดการโรงงาน
- วิศวกรที่เกี่ยวข้อง
- บริษัทประกันภัย
- ผู้จัดการฝ่ายจัดส่งสินค้าหรือผู้จัดการโรงงาน
- วิศวกรที่เกี่ยวข้อง
- บริษัทประกันภัย

จำนวนที่รับ

20 คน (จำนวนที่ว่าง 20 ที่)

ค่าลงทะเบียน

สมาชิิก ราคาปกติ ราคาเมื่อชำระก่อนวันที่
สมาชิก วสท. บาท บาท
ข้าราชการ / พนักงานรัฐวิสาหกิจ บาท บาท
บุคคลทั่วไป บาท บาท

หน่วยงานที่จัด

คณะอนุกรรมการวิศวกรรมเครื่องจักรหนักและเครื่องจักรที่ใช้ในงานก่อสร้าง
ในคณะกรรมการสาขาเครื่องกล
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ วสท.

เจ้าหน้าที่ผู้่ดูแล

คุณสราญรัตน์ พงษ์ต้น
โทร 0-2184-4600-09 ต่อ 526
โทรสาร 0-2184-4662
E-mail: saranrat@eit.or.th

รายละเอียดและใบสมัคร

แผ่นพับ_Load-restraint-Guide-รุ่น-7-วสท.pdf

รหัสอบรม:


ที่อยู่สำหรับการจัดส่งเอกสาร