รหัสอบรม:

การสัมมนาเพื่อเพิ่มพูนความรู้ทางวิศวกรรมโครงสร้างอย่างยั่งยืน
“เทคโนโลยีการออกแบบและก่อสร้างสะพานช่วงยาวในประเทศไทย”
ตอนที่ 2 สะพานขึงและสะพานแบบเอกซ์ทราโดส
ในวันที่ 26 ตุลาคม พ.ศ.2566
เวลา 09.00-16.30 น. ณ ห้องประชุม1 ชั้น4 อาคาร วสท.
อนุกรรมการวิศวกรรมโครงสร้างและสะพาน ภายใต้กรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา
วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์

ที่มาของปัญหา
เพื่อลดปัญหาด้านการจราจรและเพิ่มประสิทธิภาพการขนส่ง รวมถึงลดผลกระทบจากการรบกวนระบบนิเวศน์ทางธรรมชาติ การส่งเสริมให้ทำการออกแบบและก่อสร้างสะพานช่วงยาว (long-span bridge) แทนที่สะพานช่วงสั้นที่มีตอม่อ กลางน้ำจำนวนมาก โดยผลการดำเนินการที่ผ่านมาได้รับการตอบรับอย่างดีเยี่ยม เพราะนอกจากจะให้ฟังก์ชันที่เหมาะแล้วพื้นที่รอบสะพานดังกล่าวยังใช้เป็นแหล่งท่องเที่ยวทางวิศวกรรมซึ่งช่วยเพิ่มรายได้ของชุมชนได้อีกทางหนึ่ง
อนึ่งความท้าทายเชิงวิศวกรรมที่เกิดขึ้นส่งผลทางอ้อมให้วิศวกรไทยเกิดความใคร่รู้ในแนวทางของการออกแบบและก่อสร้างใหม่ซึ่งไม่เคยทำเป็นปกติ ซึ่งโดยเหตุปัจจัยที่กล่าว อนุกรรมการวิศวกรรมโครงสร้างและสะพาน ภายใต้กรรมการสาขาวิศวกรรมโยธา วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ ต้องการเป็นจุดเริ่มต้นเพื่อส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาดังกล่าว จึงขอเสนอการสัมมนา “เทคโนโลยีการออกแบบและก่อสร้างสะพานช่วงยาวในประเทศไทย ตอนที่ 2 สะพานขึงและสะพานแบบเอกซ์ทราโดส” ขึ้น โดยหวังว่าวิศวกรไทยจะได้ตระหนักถึงความสำคัญและเร่งพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมของตน เพื่อพร้อมที่จะรองรับการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นในอนาคต

สมัครเข้าร่วมคลิ๊กที่นี้ >>https://forms.gle/mBdFC6LQhzeJR4UC9

กำหนดการ

กำหนดการ เนื้อหาการอบรม หมายเหตุ
26 ตุลาคม 2566

08.15 – 08.45         ลงทะเบียนและพิธีเปิดโครงการ
08.45 – 09.00       พิธีเปิดการสัมมนา
09.00 – 10.30         หัวข้อสะพานขึง: พฤติกรรม การออกแบบและการทดสอบน้ำหนัก บรรทุก(Cable-Stay Bridges: Behavior, Design and Load Test)
โดย ศาสตราจารย์ ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย (สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย)
10.30 – 10.45           พักรับประทานอาหารว่าง (break)
10.45 – 12.15            หัวข้อแนวคิดในการออกแบบและก่อสร้าง: สะพานขึงคู่ขนานสะพานพระราม 9 (Design and Construction Concepts: The Cable-Stay Bridge paralleled to the King ‘s RAMA IX)
โดย ดร.ชวลิต มัชฌิมดำรง (บริษัท เอฟซิลอน จำกัด)
12.15 – 13.15           พักรับประทานอาหารกลางวัน (lunch)
13.15 – 14.45         หัวข้อการออกแบบสะพานแบบเอกซ์ทราโดสรถไฟแห่งแรกในประเทศไทย(Design of the 1st Railway Extradosed Bridge in Thailand)
โดย ดร.โสภณ ฤทธิ์ดำรงกุล (บริษัท นอร์ซีฟเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด)
14.45–15.00          พักรับประทานอาหารว่าง (Break)
15.00 – 16.30         หัวข้อการออกแบบ ก่อสร้างและบำรุงรักษาสะพานมหาเจษฎาบดินทรานุสรณ์ (Maha-Chesadabodindranusorn Bridge: Design, Construction, and Maintenance)
โดย ดร.พุทธิพงศ์ หะลีห์รัตนวัฒนา (กรมทางหลวงชนบท)
16.30 – 16.45       พิธีปิดโครงการ

คณะวิทยากร

ศาสตราจารย์ ดร.เป็นหนึ่ง วานิชชัย

สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเชีย

ดร.ชวลิต มัชฌิมดำรง

บริษัท เอฟซิลอน จำกัด

ดร.โสภณ ฤทธิ์ดำรงกุล

บริษัท นอร์ซีฟเอ็นจิเนียริ่ง จำกัด

ดร.พุทธิพงศ์ หะลีห์รัตนวัฒนา

กรมทางหลวงชนบท

วันที่จัด

26/10/2023

สถานที่จัด

อาคาร วสท.

คุณสมบัติผู้สมัคร

วิศวกร ผู้ออกแบบ นายช่าง และผู้ที่สนใจ

จำนวนที่รับ

60 คน (จำนวนที่ว่าง 60 ที่)

ค่าลงทะเบียน

สมาชิิก ราคาปกติ ราคาเมื่อชำระก่อนวันที่ 23 ต.ค. 66
สมาชิก วสท. บาท บาท
บุคคลทั่วไป บาท บาท

หน่วยงานที่จัด

อนุกรรมการวิศวกรรมโครงสร้างและสะพาน

เจ้าหน้าที่ผู้่ดูแล

คุณชฎาพร พงษ์อิ่ม : 02-184-4600-9 ต่อ 538
โทรสาร : 02-184-4662 E-mail : Chadaporn.eit@gmail.com

รายละเอียดและใบสมัคร

เทคโนโลยีการออกแบบและก่อสร้างสะพานช่วงย.pdf กดตรงนี้เพื่อลงทะเบียน

รหัสอบรม:


ที่อยู่สำหรับการจัดส่งเอกสาร